อีควายย เขาเริ่มทำมาตั้งหลายปีแล้ว อีพวกสามกีบออกมาจากกะลาบ้างนะ ยังมาตากผ้าหีแตดอะไรของมึง แซะแบบควายๆ MGR Online
ข่าว
หน้าหลัก วิทยาศาสตร์ ข่าว
สนท. จับมือ ASIPP พัฒนาดวงอาทิตย์จำลอง ใช้ประโยชน์จากพลังงานสะอาด ตอบโจทย์วิกฤติด้านพลังงาน
เผยแพร่: 11 ม.ค. 2565 15:00 ปรับปรุง: 11 ม.ค. 2565 15:00 โดย: ผู้จัดการออนไลน์
840
ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สทน. เผยว่า ปัจจุบันทั่วโลกมีอัตราการใช้พลังงานจากฟอสซิลกว่าร้อยละ 86 และร้อยละ 6 จากพลังงานนิวเคลียร์ ส่วนที่เหลืออีกเล็กน้อยเป็นพลังงานหมุนเวียน (น้ำ ลม แสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนจากใต้พิภพ) แต่ภายใต้เป้าหมายในการขับเคลื่อนสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่างๆ พลังงาน ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนกลไกต่างๆ จึงถูกนำมาใช้อย่างมากมายมหาศาล ผลกระทบที่ตามมาคือ วิกฤติด้านพลังงานเนื่องจากแหล่งพลังงานที่ใช้กำลังจะหมดไป และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการเผาผลาญเชื้อเพลิง ปัจจุบัน ทั่วโลกจึงหันมาให้ความสำคัญกับการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตพลังงานสะอาด
ad
โดยสถาบันพลาสมาฟิสิกส์ (Institute of Plasma Physics of Chinese Academy of Sciences : ASIPP) ตั้งอยู่ที่เมืองเหอเฝย์ มณฑลอานฮุย ประเทศจีน ประสบผลสำเร็จในการทดลองเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชันมีชื่อว่า EAST (Experimental Advanced Superconducting Tokamak) ซึ่งเป็นการจำลองปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิวชันให้เกิดตามธรรมชาติบนดวงอาทิตย์ให้เกิดขึ้นบนโลก ผลการทดลองเดินเครื่องโทคาแมค EAST ที่ครั้งนี้ สามารถเดินเครื่องได้กำเนิดพลาสมาที่ความร้อนสูงถึง 70 ล้านองศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1,056 วินาที หรือราว 17 นาที ซึ่งถือเป็นสถิติโลกใหม่ที่เครื่อง EAST สามารถเดินเครื่องได้นานที่สุดตั้งแต่มีการทดลองขึ้น ซึ่งเมื่อปีที่แล้วทาง ASIPP ได้ทำทดลองเดินเครื่อง EAST ได้พลาสมาที่พลังงานความร้อนสูงสุด 120 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 101 วินาที การทดลองดังกล่าวถึงเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นของนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาและทดลองด้านปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันทั่วโลก
รศ.ดร.ธวัชชัย
เผยต่อว่า สทน. จึงมีแผนการวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชัน ภายใต้การสนับสนุนของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สทน. และมหาวิทยาลัยชั้นนำ 15 แห่งของไทย และ สทน.เองได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับสถาบันพลาสมาฟิสิกส์ ประเทศจีน หรือ ASIPP มาตั้งแต่ปี 2560 โดยมีขอบข่ายความร่วมมือในการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อการทำวิจัยด้านพลาสมา และการพัฒนาห้องปฏิบัติการด้านนิวเคลียร์ฟิวชัน จากความร่วมมือดังกล่าว ASIPP ได้มอบเครื่องโทคาแมค HT-6M ให้ สทน. อย่างเป็นทางการเมื่อปี 2561 หลังรับมอบเครื่องโทคาแมค สทน.ได้วางแผนการทำงานเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแรก เป็นการถอดแบบและศึกษาองค์ประกอบของเครื่องโทคาแมคและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ รวมถึงการก่อสร้างอาคาร เพื่อเตรียมการติดตั้งเครื่องโทคาแมค ในระยะที่ 2 สทน.จะส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการถ่ายทอดองค์ความรู้ พร้อมร่วมออกแบบและพัฒนาระบบต่างๆของเครื่องโทคาแมค และประกอบเครื่องจนสามารถเดินเครื่องได้ และระยะที่ 3 เป็นการย้ายเครื่องกลับมาประเทศไทย ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2566 และเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 64 ที่ผ่านมา สทน. ได้ลงนามกับ ASIPP เพื่อที่จะพัฒนาระบบสนับสนุนต่างๆ ที่ประเทศจีน จนเมื่อเครื่องทำงานได้ก็จะทำการถอดประกอบและขนส่งมาติดตั้ง ณ สทน. องครักษ์ ปัจจุบันการดำเนินการอยู่ในระยะที่ 2 ซึ่งอยู่ในช่วงก่อสร้างอาคารสำหรับติดตั้งเครื่องโทคาแมค โดยความคืบหน้าของโครงการก่อสร้างอาคาร และอุปกรณ์สำหรับอาคารห้องปฏิบัติการ คืบหน้าไปแล้วร้อยละ 70
สำหรับเครื่องโทคาแมคที่ไทยพัฒนาร่วมกับ ASIPP
จะมีชื่อว่า "Thai Tokamak-1 หรือ TT-1" เมื่อเดินเครื่อง คาดว่าอุณหภูมิของพลาสมาในระยะแรกจะอยู่ที่ประมาณ 100,000 องศาเซลเซียส และ สทน. มีแผนที่พัฒนาระบบให้ความร้อนเสริมแก่พลาสมาด้วยวิธีการให้ความร้อนด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อยกระดับอุณหภูมิของพลาสมาไปสู่ระดับ 1,000,000 องศาเซลเซียส และในอนาคตจะมีการออกแบบและสร้างเครื่องโทคาแมคเครื่องใหม่ขึ้นมาเองโดยจะใช้เทคโนโลยี Superconducting magnet เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูงขึ้นสำหรับกักพลาสมาและการให้ความร้อนเสริมด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งคาดว่าจะสามารถสร้าง พลาสมาที่มีอุณหภูมิสูงในระดับ 10,000,000 องศาเซลเซียสได้ เครื่องโทคาแมคที่ติดตั้งที่ สทน. จะใช้สำหรับการศึกษาปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิวชัน เพื่อใช้เป็นพลังงานสะอาดในการผลิตกระแสไฟฟ้าในอนาคต และการนำพลาสมาไปใช้ในด้านอุตสาหกรรม การเกษตร และด้านการแพทย์ และองค์ความรู้จากการพัฒนาเครื่องโทคาแมคจะทำให้ไทยมีองค์ความรู้และสามารถสนับสนุนงานด้านวิศวกรรมระบบรางของไทยได้ในอนาคต.
เตรียมรับไทยแลนด์โทคาแมคแล้วค่ะ อีพวกกีบโง่ๆ ดักดานอยู่แต่แนวคิดคอมมูน ลุงตู่มองการณ์ไกลมาก เตรียมให้คนไทยใช้พลังงานสะอาดประเทศแรกในอาเซียน ขายพลังงานให้ประเทศเพื่อนบ้านเริดๆ ไม่โง่เหมือนอีว่าที่ รมว.ก้าวไกลที่จ้องแต่จะรีดภาษี พอได้รับเลือกตลาดหุ้นตกยาวเลยค่ะ โรงงานเตรียมย้ายฐานไปเวียดนามรัวๆๆสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.) และ กฟผ. จับมือร่วมกับประเทศจีน เตรียมการพัฒนาโครงการความร่วมมือ "ไทยแลนด์ โทคาแมค-1" หรือโครงการ "ดวงอาทิตย์เทียม" ดวงแรกของอาเซียน เพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า
กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรไทยจากสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.) นำทีมโดย ดร.นพพร พูลยรัตน์ หัวหน้าฝ่ายนิวเคลียร์ฟิวชันและพลาสมา กำลังทำการวิจัยและการทดลองเกี่ยวกับพลังงานฟิวชันร่วมกับเจ้าหน้าที่จีนในนครเหอเฝย (Hefei) เมืองเอกของมณฑลอันฮุยทางตะวันออกของจีน ในโครงการความร่วมมือ "ไทยแลนด์ โทคาแมค-1" (Thailand Tokamak-1) หรือ ทีที-1 (TT-1)
โครงการ TT-1 คือการทดลองเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมค หรือ "ดวงอาทิตย์เทียม" เป็นเครื่องจักรทดลองที่สามารถสร้างและปล่อยพลาสมาอุณหภูมิสูงพิเศษเพื่อจำลองสภาวะที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาฟิวชันได้
ดร.นพพร พูลยรัตน์ ระบุว่า ทีมเจ้าหน้าที่ไทยเดินทางมายังจีนเพื่อศึกษาวิธีการใช้เตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมค ซึ่งไทยได้รับบริจาคโดยมีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในการรับมอบเมื่อปี 2018 โดยเครื่องโทคาแมคนี้จะถูกแยกชิ้นส่วนและขนส่งสู่ไทยต่อไป
logo-heading
HOME
KEEP THE WORLD
เลือกตั้ง 2566 อนาคตประเทศไทย
ไทยจับมือจีน เตรียมพัฒนา "ดวงอาทิตย์เทียม" ดวงแรกของอาเซียน
byNATT W.
01 Sep 2022
ไทยจับมือจีน เตรียมพัฒนา "ดวงอาทิตย์เทียม" ดวงแรกของอาเซียน
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.) และ กฟผ. จับมือร่วมกับประเทศจีน เตรียมการพัฒนาโครงการความร่วมมือ "ไทยแลนด์ โทคาแมค-1" หรือโครงการ "ดวงอาทิตย์เทียม" ดวงแรกของอาเซียน เพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า
กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรไทยจากสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (สทน.) นำทีมโดย ดร.นพพร พูลยรัตน์ หัวหน้าฝ่ายนิวเคลียร์ฟิวชันและพลาสมา กำลังทำการวิจัยและการทดลองเกี่ยวกับพลังงานฟิวชันร่วมกับเจ้าหน้าที่จีนในนครเหอเฝย (Hefei) เมืองเอกของมณฑลอันฮุยทางตะวันออกของจีน ในโครงการความร่วมมือ "ไทยแลนด์ โทคาแมค-1" (Thailand Tokamak-1) หรือ ทีที-1 (TT-1)
โครงการ TT-1 คือการทดลองเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมค หรือ "ดวงอาทิตย์เทียม" เป็นเครื่องจักรทดลองที่สามารถสร้างและปล่อยพลาสมาอุณหภูมิสูงพิเศษเพื่อจำลองสภาวะที่จำเป็นสำหรับปฏิกิริยาฟิวชันได้
ดร.นพพร พูลยรัตน์ ระบุว่า ทีมเจ้าหน้าที่ไทยเดินทางมายังจีนเพื่อศึกษาวิธีการใช้เตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมค ซึ่งไทยได้รับบริจาคโดยมีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในการรับมอบเมื่อปี 2018 โดยเครื่องโทคาแมคนี้จะถูกแยกชิ้นส่วนและขนส่งสู่ไทยต่อไป
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง :
ประเทศจีน เผย "ดาวเทียมสำรวจดวงอาทิตย์" สำเร็จด้วยดี
นักวิทย์เผย โลกหมุนเร็วขึ้น เวลาในอนาคตอาจเปลี่ยนไป เพราะโลกร้อน ?
ทางเลือกใหม่ ฟินแลนด์ประดิษฐ์แบตเตอรี่พลังงานทรายเครื่องแรกของโลก
จีนทดสอบเดินเครื่อง ดวงอาทิตย์เทียม ร้อนกว่าของจริง 5 เท่า ผลิตพลังงานสะอาด
และ นายมตินนท์ ไมตรีบริรักษ์ วิศวกรการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ TT-1 และวิศวกรไฟฟ้าผู้ดูแลระบบควบคุมพลาสมาของโครงการ กล่าวว่า กฟผ. ได้ร่วมมือกับ สทน. ในการพัฒนาเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมคเครื่องแรกของไทย และยังสนับสนุนทีมวิศวกรและนักวิจัยในโครงการนอกเหนือจากการจัดหาเงินทุนด้วย
ทั้งนี้ เป้าหมายปัจจุบันของ กฟผ. คือการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจพื้นฐานและวิธีการประกอบ ใช้งาน และบำรุงรักษาเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมค
พ.ค. 2021 คณะนักวิทยาศาสตร์จีนสร้างสถิติโลกครั้งใหม่ในการปล่อยประจุพลาสมา ณ อุณหภูมิ 120 ล้านองศาเซลเซียส เป็นเวลา 101 วินาที ระหว่างการทดลองที่สถาบันฟิสิกส์พลาสมา สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (Institute of Plasma Physics Chinese Academy Of Scieneces: ASIPP) ในนครเหอเฝย ซึ่งถือเป็นความก้าวหน้าครั้งสำคัญในด้านการวิจัยพลังงานฟิวชัน
รายงานระบุว่า กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรไทย จำนวน 8 คน จาก สทน. และ กฟผ. ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่จีนอย่างใกล้ชิดเพื่อสร้างเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมคเครื่องแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทีมของไทยเริ่มดำเนินการเตาปฏิกรณ์ TT-1 ภายใต้การกำกับดูแลของเจ้าหน้าที่จีน หลังจากผ่านการอบรมนานสามสัปดาห์ ซึ่งทีมจากไทยสามารถดำเนินการเครื่องดังกล่าวได้เองหลังฝึกอบรมเป็นเวลาสองเดือน
เฉิน หยู่ (Chen Yue) วิศวกรอาวุโสด้านเทคโนโลยีสุญญากาศของสถาบันฟิสิกส์พลาสมา ได้ทำงานร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ไทยตั้งแต่พวกเขามาถึงช่วงปลายเดือน มิ.ย. โดยประเทศจีนจำเป็นต้องตรวจสอบเครื่องมือและชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างถี่ถ้วน ก่อนส่งมอบเตาปฏิกรณ์แบบโทคาแมคให้ฝ่ายไทย
เฉิน หยู่ เป็นสมาชิกทีมสนับสนุนของจีนที่ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่โครงการกว่า 100 คน กล่าวว่าเจ้าหน้าที่ไทยเรียนรู้รวดเร็วมาก ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะควบคุมเครื่องจักรซับซ้อนอย่างโทคาแมค รวมถึงระบบต่าง ๆ ภายในเวลาสั้นเช่นนี้
ทั้งนี้ เป้าหมายสูงสุดของโครงการ TT-1 คือการสร้างปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันเหมือนดวงอาทิตย์ โดยใช้ดิวเทอเรียม (Deuterium) ซึ่งเป็นธาตุไฮโดรเจนชนิดหนักและมีอยู่มากมายในทะเลมาผลิตพลังงานสะอาดที่มีเสถียรภาพ โดยคาดว่าพลังงานที่ผลิตจากดิวเทอเรียมในน้ำทะเล 1 ลิตร ผ่านปฏิกิริยาฟิวชัน จะเทียบเท่ากับน้ำมันเบนซิน 300 ลิตร
นายมตินนท์ ชี้ว่า พลังงานสะอาดรูปแบบใหม่จะเป็นแหล่งพลังงานที่มีเสถียรภาพและราคาเอื้อมถึงสำหรับไทยและกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
สทน. ระบุว่าเตาปฏิกรณ์ TT-1 มีกำหนดขนส่งสู่ไทยในเดือน ต.ค. ซึ่งอาคารที่เพิ่งสร้างเสร็จไม่นานนี้ได้เตรียมพร้อมรองรับเครื่องดังกล่าวแล้ว
ขณะเดียวกัน ดร.นพพร เสริมว่า สนท. หวังมอบแพลตฟอร์มให้นักวิจัยในไทยเพื่อทำการทดลองที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาฟิวชัน และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยปัจจุบันไทยมีจำนวนผู้ทำงานด้านการวิจัยพลังงานฟิวชันไม่มากนัก ทว่าเตาปฏิกรณ์ TT-1 จะเป็นแรงบันดาลใจให้คนหนุ่มสาวเข้าร่วมการวิจัยแวดวงนี้มากขึ้น